วันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558

สีของปัสสาวะบอกอาการของโรคไตได้จริง สมุนไพรบำรุงไตปู่จิงตันPUJINGTUN ช่วยได้....


สีของปัสสาวะบอกอาการของโรคไตได้จริง 



      สีปัสสาวะของคนปกติจะมีสีเหลืองอ่อน จนถึงเหลืองเข็มใสไม่ขุ่นสีเหลืองเกิดจากเกิดจากสาร Urochrome ในปัสสาวะ หลายท่านมาพบแพทย์เพราะสีของปัสสาวะเปลี่ยน




    นอกจากการสังเกตสีปัสสาวะแล้ว ยังต้องสังเกตว่ามีอาการ หรือการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นด้วย เช่น  
  

   1.อาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้



   2.ปัสสาวะบ่อยขึ้นหรือไม่

   3.ปวดแสบขัดเวลาปัสสาวะหรือไม่



   4.ปวดเอวหรือท้องน้อยหรือไม่




   5.ชนิดของอาหารที่รับประทาน



   6.ยาที่รับประทาน

       การสังเกตสีของปัสสาวะทำได้ง่ายๆ โดยผู้ชายให้สังเกตสีเมื่อปัสสาวะเริ่มออก หรือสังเกตสีของน้ำในชักโครก ส่วนผู้หญิงสังเกตที่ชักโครก และกระดาษที่ใช้ซับปัสสาวะ ความผิดปกติของสีปัสสาวะที่พบได้



    1.สีขาวแต่ขุ่น  ปัสสาวะขาวแต่ขุ่นมักจะพบในผู้ที่ดื่มนมเป็นปริมาณมากเกิดจากผลึกของ phosphate สาเหตุที่พบบ่อยอีกสาเหตุหนึ่ง คือการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เช่น กรวยไตอักเสบ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ หรือเกิดจากมีน้ำเหลืองในปัสสาวะที่เรียกว่า Chyuria



    2.ปัสสาวะออกมาเป็นสีอมแดงผู้มีปัสสาวะสีแดงมักจะรีบมาพบแพทย์สาเหตุที่สำคัญคือ

       -มีเลือดออกทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่ว เนื้องอก การติดเชื้อทางเดินระบบปัสสาวะ เมื่อเรานำปัสสาวะไปส่องกล้องจะพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ

       -มี Hemoglobin ในปัสสาวะ ปกติ Hemoglobin จะอยู่ในเม็ดเลือดแดงซึ่งไม่สามารถผ่านเข้ามาในปัสสาวะ

        การตรวจพบ Hemoglobin โดยที่ไม่มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ หมายถึงเม็ดเลือดแดงมีการแตกตัว Hemolysis ทำให้ Hemoglobin ผ่านไตลงมาในปัสสาวะ

       อีกวิธีหนึ่งที่ทำให้ทราบว่ามีการแตกของเม็ดเลือดแดง คือ การเจาะเลือด และนำไปปั่นเอาน้ำเหลืองมาดู จะพบว่าน้ำเหลืองเป็นสีชมพู

     3.มี Myoglobin ในปัสสาวะ ปกติ Myoglobin จะพบในกล้ามเนื้อ หากกล้ามเนื้อมีการทำลายเช่น โรค Rhabdomyolysis จะทำให้มีสาร Myoglobin ในปัสสาวะซึ่งจะทำให้เกิดสีแดง เมื่อนำปัสสาวะไปส่องกล้องไม่พบเม็ดเลือดแดง และน้ำเหลืองในเลือดก็ใส



       -สีแดงของปัสสาวะเกิดจากอาหารที่รับประทาน เช่น Blackberries และ beets เนื่องจากมีสาร anthrocyanin

        -ยาที่ทำให้ปัสสาวสีแดงได้แก่ phenytoin, phenothiazines



     4.ปัสสาวะเป็นสีน้ำตาลออกทางดำ เกิดจากปัสสาวะมี Myoglobin หรือมี Hemoglobin ในปัสสาวะทำให้ปัสสาวะออกสีน้ำตาลไปทางดำ

      ภาวะที่พบได้บ่อยคือ ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกโดยเฉพาะจากยา Quinine ที่ใช้รักษาโรคมาลาเรีย 


      หรือผู้ที่เป็นโรคเลือด G6PD Deficiency เมื่อได้ยาที่แพ้จะเกิดเม็ดเลือดแดงแตก 


      นอกจากนั้นยังเกิดจากการรับประทานถั่วในปริมาณที่มาก 


      หรือจากยา  L-dopa  methyldopa,chloraquine, primaquine, furazolidone, metronidazole, nitrofurantoin, cascara/senna laxatives, methocarbamol, and sorbitol



        5.ปัสสาวะมีสีส้ม  ผู้ที่มีปัสสาวะสีส้มส่วนใหญ่เกิดจากยาและอาหารได้แก่  phenazopyridine (Pyridium)ซึ่งเป็นยารักษาอาการปัสสาวะขัด ยารักษาวัณโรค Rifampin, phenacetin, sulfasalazine, Vitamin C, riboflavin,และ carrots



      6.ปัสสาวะเป็นสีน้ำเงิน ผู้ที่มีปัสสาวะสีเขียวหรือน้ำเงินมักจะเกิดจากยา ยาที่พบบ่อยได้แก่ Methylene blue ใช้รักษาอาการปัสสาวะขัด 

      นอกจากนั้นยังมียาอีกหลายชนิด เช่น Amitriptyline, indomethacin, resorcinol, triamterine, cimetidine, phenergan,และ multivitamins



      ได้รับการยืนยันแน่นอนว่า หลังจากกิน ปูจิงตัน สีน้ำปัสสาวะออกมาสีเหลืองสะอาด(ไตสะอาด แข็งแรง)   ทั้งที่ก่อนทาน มีสีอื่น เนื่องจากไต ไม่สะอาด ไม่แข็งแรง
     

      ผลิตภัณฑ์ ปู่จิงตัน(PUJINGTUN) สามารถแก้ปัญหา โรคไต ไตวาย อย่างได้ผล


ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 900 บาท

ดูข้อมูลที่   http://pugingtunmir.blogspot.com

สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ วรกัญณัฎฐ์    อัครเรืองวงศ์



โทร. 064-549-3661,095-163-9336



                      ID Line : kunnut599   


                    อีเมล์ : kunnut59@gmail.com






โรคไตวายเรื้อรังคืออะไร ด้วยอาหารเสริมสมุนไพรปู่จิงตัน PUJINGTUN ของ บ. IR

โรคไตวายเรื้อรังคืออะไร?....................คุณรู้หรือไม่

            ไตวายเรื้อรังเป็นภาวะที่ไตไม่สามารถขับของเสีย  และน้ำที่มีอยู่เกินออกจากกระแสโลหิตได้  ของที่คั่งและของเหลวที่มีอยู่เกิน  ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน 





            สาเหตุสำคัญของภาวะไตวายเรื้อรัง  เกิดจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง, ไตส่วน Glomeruli  อักเสบ, Polycystic Kidney, ยากลุ่ม NSAID, ภาวะ Uric สูงทำให้ Urate เกาะที่ Medullary  Interstitium  เกิด Interstitial Fibrosis แต่ภาวะไตเสื่อมเลวลง



            ในระยะแรกของภาวะไตวายเรื้อรังอาจไม่พบอาการผิดปกติ  ในระยะท้ายผู้ป่วยต้องล้างไต หรือเปลี่ยนไตจึงจะมีชีวิตอยู่ได้

            เป้าหมายสำคัญของการรักษา  คือ  การป้องกันไม่ให้ภาวะไตวายเรื้อรังดำเนินโรคเป็นภาวะไตวายระยะสุดท้าย 

          โดยการควบคุมภาวะโรคที่เป็นสาเหตุของไตวาย  เช่น  เบาหวาน  ความดัน  และภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่เกิดขึ้นได้  เช่น  การติดเชื้อและการฉีด Contrast เพื่อการวินิจฉัยทางรังสีวิทยา

การทำงานของไตปกติ




            ไตมีหน้าที่กำจัดของเสียและน้ำส่วนเกินออกจากกระแสโลหิต  ของเสียและน้ำส่วนเกินถูกสกัดเป็นปัสสาวะ



            ในการกลั่นปัสสาวะต้องมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ:
ความดันโลหิตที่ไปเลี้ยงไตต้องเพียงพอหน่วยไต เรียกว่า Nephron (Glomeruli และTubule)  ต้องทำหน้าที่ขับของเสียและดูดของดีกลับร่างกายทางเดินปัสสาวะต้องไม่อุดตัน

    ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากภาวะไตวายเรื้อรัง



    ภาวะไตวายเรื้อรังไม่ทำให้เกิดอาการจนกระทั่งระยะสุดท้าย  มักจะพบภาวะไตวายเมื่อตรวจเลือด 

    หรือปัสสาวะด้วยความผิดปกติหรือโรคอื่น  ส่วนมากแล้วจำนวนปัสสาวะจะปกติ  แต่ปัสสาวะเหล่านี้มีส่วนประกอบของเสียผิดปกติไป



            มื่อไตเสื่อมมากขึ้น  ผู้ป่วยเริ่มมีบวมที่เท้า  ข้อเท้า  ขา  เบื่ออาหาร  ง่วงนอนง่าย  คลื่นไส้/อาเจียน  สับสนและสมองตื้อ  บางคนมีความดันโลหิตสูง  ะดับเกลือแร่ผิดปกติ  โลหิตจาง  และโรคกระดูกเสื่อม




            Uremia เป็นกลุ่มอาการในภาวะท้ายของโรคไตวาย  ผู้ป่วยมีอาการเบื่ออาหาร  คลื่นไส้/อาเจียน  เนื้อเยื่อรอบหัวใจบวม  ปลายประสาทเสื่อม  ความคิดสับสน  ง่วงนอน  ชักและ Coma  ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria) เป็นเครื่องบ่งบอกโรคไต  ปริมาณโปรตีนจำนวนน้อยที่ออกมา

           หรือที่เรียก Microalbuminuria เป็นเครื่องชี้วัดโรคไตโดยเฉพาะในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 
 การรักษาภาวะไตวายเรื้อรัง

           สิ่งสำคัญของการรักษาคือ  การจัดการกับสาเหตุของโรคไตวายเรื้อรัง  สาเหตุบางอย่างรักษาได้  เช่น  นิ่วในไต  ยาบางชนิด เช่น  NSAIDS, โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ,  ภาวะ Uric สูง  เป็นต้น



           ความดันโลหิต:  พบได้ร้อยละ 80-85 ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง  ยากลุ่ม  Angiotensin  Converting Enzyme  Inhibitor (ACEI)  และกลุ่ม Angiotensin  Receptor Blocker (ARB) 

           สามารถลดความดันโลหิตและปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ  จึงลดอัตราการเสื่อมของโรคไตได้มากกว่ายารักษาความดันโลหิตอื่นๆ



            ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)  ใช้ร่วมกับ ACEI และ ARB ได้  เพื่อให้คุมความดันให้ปกติผู้ให้บริการอาจแนะนำให้ผู้ป่วยวัดความดันตนเองที่บ้านเป็นระยะได้



           ภาวะเลือดจาง:  ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมีภาวะโลหิตจางได้  เพราะ Juxtaglomerular  Apparatus สร้างสาร Erythropoietin ได้น้อยลง  ภาวะเลือดจางทำให้ผู้ป่วยเหนื่อยง่าย 

          ผู้ป่วยบางคนควรได้ฉีด Erythropoietin โดยผู้ให้บริการ หรือฝึกญาติให้ฉีดยาให้การปรับอาหาร




          - จำกัดโปรตีน  ทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องล้างไตบ่อย  เพราะหน่วยไต (Nephron)  ไม่ต้องขจัด Urea ซึ่งเป็นสารที่ได้จากการย่อยโปรตีนมากเกินไป

        - การระวัง Potassium  ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีแนวโน้มที่ระดับ  โปตัสเซียมสูง  การให้ยาขับปัสสาวะบางชนิดช่วยขจัดโปตัสเซียมได้  จำเป็นต้องจำกัดอาหารที่ทำให้โปตัสเซียมสูง  และลดยาที่มีการสะสมโปตัสเซียม

       -การระวัง Phosphate   สาร Phosphate  เป็นส่วนประกอบสำคัญของกระดูก  เมื่อหน่วยไต(Nephron) ทำงานน้อย  Phosphate  จะมีปริมาณสูง 

        จำเป็นต้องทานอาหารที่มี Phosphate น้อย  เช่น  ถั่ว  นมถั่วเหลือง  เนยแข็ง  ไก่  นม  และ Yogurt เป็นต้น



ผลิตภัณฑ์ ปู่จิงตัน(PUJINGTUN)    สามารถแก้ปัญหา โรคไต ไตวาย อย่างได้ผล


ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 900 บาท

ดูข้อมูลที่   http://pugingtunmir.blogspot.com

สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณ วรกัญณัฎฐ์    อัครเรืองวงศ์ 

โทร.064-549-3661,095-163-9336

                        ID Line : kunnut599   


                    อีเมล์ : kunnut59@gmail.com